มาตราฐานการรับรอง

- หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย
- เป็นมาตรฐานพื้นฐานก่อนจะนำไปขอมาตรฐานอื่น ๆ ที่สูงกว่า เช่น HACCP, ISO 9000

-มาตรฐานการผลิตที่มีมาตรการป้องกันอันตรายที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร
-เน้นเรื่องความปลอดภัยด้านเชื้อจุลินทรีย์ สารเคมี และสิ่งแปลกปลอม โดยการวิเคราะห์ หากําหนด และควบคุมจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม
-ครอบคลุมตั้งแต่การเพาะปลูก เก็บเกี่ยว การรับวันเดิน การแปรรูป กระบวนการผลิต การเก็บรักษาการจัดส่งและจัดจําหน่าย ตลอดจนการเตรียมการปรุง หุงต้มของผู้บริโภค

Quality Management System: OMS
-เป็นมาตรฐานรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ
-เน้นกระบวนการและความพอใจของลูกค้า
-ครอบคลุมตัั้งแต่การออกแบบ การพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
* หมายเหตุ 5GS เป็นหนึ่งในองค์กรรับรองมาตรฐาน

Environmental Management System: EMS
-มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
-เน้นการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันมลพิษและรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงลดต้นทุนการผลิตในธุรกิจด้วย
*หมายเหตุ 5GS เป็นหนึ่งในองค์กรรับรองมาตรฐาน

Food Safety Management System: FSMS
* มาตรฐานของระบบบริหารความปลอดภัยของอาหารสําหรับทุกองค์กรในส่วงโซ่อาหาร
*ครอบคสมตั้งแต่วัถุดิบจนถึงสินค้าสําเร็จรูป

-เป็นมาตรฐานความปลอดภัยทางอาหารที่เกิดจากการรวมกลุ่มขององค์กรค้าปลีกขนาดใหญ่
-ประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ HACCP system ระบบบริหารคุณภาพ, มาตรฐานการควบคุมสภาพแวดล้อมของสถานปฏิบัติการ, การควบคุมผลิตภัณฑ์,

Ministry of Industry (กระทรวงอุตสาหกรรม)
-มี 5 ระดับ
-มอบให้แก่อุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบ
ต่อสังคม ทั้งภายในและภายนอกองค์กรตลอดห่วงโซ่อุปทาน เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับอาหารที่ถูกต้อง สอดคล้องกับหลักศาสนายูดาย เรียกว่า “คัชรูท” (Kashruth)

Department of International Trade Promotion (DITP)
รับรองว่าได้เสนอสินค้าและบริการคุณภาพที่ดีที่สุดของไทยให้แก่ผู้ซื้อ เพื่อให้เกิดความสะดวกสบาย และคุ้มค่าที่สุด

สัญลักษณ์ที่แสดงให้ผู้บริโกคได้ทราบว่าผลิตภัณฑ์สุขภาพนั้นๆ ได้ผ่านการพิจารณาด้านประสิทธิภาพ คุณภาพและความปลอดภัย ตามหลักเกณฑ์การผลิต และการนําเข้า จากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

การรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว
การรับรองว่าเป็นอุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการมุ่งเน้นในเรื่องของการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ผลิตและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งภายในและภายนอกองค์กรตลอดห่วงโซ่อุปทาน

มูลนิธิการศึกษาที่สนับสนุน ส่งเสริม และให้กําลังใจแก่คนในการดําเนินชีวิตแบบมังสวิรัติ

-หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร เป็นเกณฑ์หรือข้อกําหนดขั้นพื้นฐานที่จําเป็น ในการผลิตและควบคุมเพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตาม และทําให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย โดยเน้นการป้องกันและขจัดความเสี่ยงที่อาจจะทําให้อาหารเป็นพิษ เป็นอันตราย หรือเกิดความไม่ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

-มาตรฐานการผลิต ที่มีมาตรการป้องกันอันตราย ที่ผู้บริโภคอาจได้รับจากการบริโภคอาหาร
-Hazard Analsis Critical Control Point ซึ่งหมายถึงการวิเคราะห์อันตราย จุดควบคุบวิกฤต เป็นแนวคิดเกี่ยวกับมาตรการป้องกันอันตราย ที่อาจเกิดขึ้น ในแต่ละ 14 ขั้นตอน

เครื่องหมายที่คณะกรรมการฝ่ายกิจการฮาลาลของคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย หรือคณะกรรมการอิสลามประจําจังหวัดต่าง ๆ ได้อนุญาตให้ผู้ประกอบการทําการ ประทับ หรือแสดงลงบนฉลาก หรือผลิตภัณฑ์ หรือมีกิจการใดๆ โดยใช้สัญญลักษณ์ที่เรียกว่า “ฮาลาล” ซึ่งเขียนเป็นภาษาอาหรับ ภายในกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หลังกรอบเป็น สายเส้นแนวตั้ง ไม้กรอบภายในเส้นขนานมีคำว่า “สนง.คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย” โดยเครื่องหมายดังกล่าวนี้ จะออกให้กับผลิตภัณฑ์อาหาร และเครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์ ฮาลาล และหรือเนื้อสัตว์ฮาลาลที่บ้าเข้าจากต่างประเทศ เป็นต้น

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา
มาตรฐานจากองค์กร USDA ตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร ซึ่งเป็นเครื่องรับรองว่าระบบการผลิตจะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ และปราศจากสารเคมีใดๆ ทั้งสิ้น ก่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโกค ดังนั้นจึงมั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์ของชีวารี่ที่ผลิตออกจากโรuaาบสู่มือผู้บริโภคต้องผ่านการรับรอฉมาตรฐานจาก USDA Orgaria

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป
การแสดงตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรปที่ถูกต้อง จะต้องมีเลขรหัสหน่วยงานที่ทำการตรวจรับรองของสหภาพยุโรป ซึ่งระบุประเทศของหน่วยงานผู้ตรวจรับรองกํากับไว้ พร้อมกับระบุประเทศแหล่งที่มาของสินค้าอินทรีย์นั้นๆ ไว้ใช้ตรามาตรฐานด้วย (ดูตัวอย่าง ตรามาตรฐาน EU ของ inn. ด้านขวามือ) สหภาพยุโรปยังไม่อนุญาตให้ใช้คําว่า 10056 Organic หรืออินทรีย์ 100% บบฉลากสินค้าด้วย ระบนมาตรฐานเกษตรอินทรีย์อื่นที่สหภาพยุโรปยอบรับ

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
มกอช. ได้ประกาศใช้ตรามาตรฐาน Organic Thailand เมื่อปี พ.ศ. 2555 และถือเป็นตรามาตรฐานของประเทศไทย แต่ไม่ได้บังคับว่าการนำเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์หรือสินค้าเกษตร อินทรีย์ที่ผลิตในประเทศไทยจะต้องได้รับมาตรฐาน Organic Thailand นี้

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์แคนาดา
การใช้ตรามาตรฐานเกษตรอินทรีย์แคนาดาที่ถูกต้อง ต้องมีชื่อสินค้า รหัสหน่วยงานที่ทําการตรวจการรับรองที่ออกโดย IOAS พร้อมกับระบุประเทศผู้ผลิต ทั้งภาษาอังกฤษและ ฝรั่งเศส กํากับไว้ใกล้ๆ ตรามาตรฐานฯ ให้เห็นได้ชัดเฉu ระบนมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ขึ้นที่ประเทศแคนาดายอมรับ ได้แก่ ระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกา (จากผู้ผลิตทั่วโลก) ระบบ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สหภาพยุโรป (เฉพาะที่ผลิตในสหภาพยุโรป) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ญี่ปุ่น (เฉพาะที่ผลดีในญี่ปุ่น) โดยการแสดง

บริษัท ไบโออะทรีเสิร์ช (ไทยแลนด์) จํากัด เป็นสาขาย่อยของ Bioagricert S.rl. จากประเทศอิตาลี่ผู้ประกอบการต้องได้รับการตรวจรับรองจากบริษัทนี้เท่านั้นจึงจะใช้ตรารับรองนี้ได้

รับรองมาตรฐาน HACCP และ GMP โดยบริษัท BSI ซึ่งคือองค์กรให้การรับรองมาตรฐานสากลแห่งแรกของโลก

การรับรองอาหารที่มีค่า GI ต่ํา จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําตาลในเลือดเท่ากับ 55 หรือ น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกันสารมาตรฐาน อาหารที่มีค่า GI ต่ํา เช่น ถั่วชนิดต่างๆ ผัก และอาหารที่มีเส้นใยสูง เมล็ดธัญพืช (cereal grain) ที่มีน้ําตาลต่ำ โยเกิร์ต (yagurt) ไขมันต่ำและไม่มีรสหวาน เกรฟฟรุด แอปเปิล และมะเขือเทศ เป็นต้น

ผ่านการส่งเสริมหรือบริการของหน่วยงานใต้กํากับของกรมเสริมอุตสาหกรรม

เครื่องหมายเพลิกันฑ์ OTOP กรมการพัฒนาชุมชน

ตรามาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์ มกท.
สําหรับตรวจรับรองการผลิตเกษตรอินทรีย์บางประเภทที่เพิ่งเริ่มพัฒนาขึ้นในประเทศและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เหมาะกับผู้ประกอบการในระยะเริ่มต้น ซึ่งรวมถึง การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงผึ้ง และการประกอบอาหารสําหรับร้านอาหาร ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองตามระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มกท. จะใช้ตราสัญลักษณ์ของ มกท. เป็น

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ เป็นหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติที่มีเป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานอาหารและสารอาหาร รวบรวม วิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารด้านโภชนาการ อาหารการเกษตร ป่าไม้และประมง ให้ประเทศต่างๆ เพื่อนําไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการกําหนดนโยบายการเกษตร

รับรองมาตรฐาน HACCP โดย Intertek

รับรองมาตรฐาน HACCP โดย Intertek

สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นองค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารที่มีคุณภาพ มีความปลอภัย และเป็น ที่ยอมรับของนานาประเทศ เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้สําหรับฟาร์นหรือแหล่งปลูกที่ดําเนินการถาน GAP (Good Agriculture Practices หรือการปฏิบัติกาการเกษรที่ดีและเหมาะสม) มีมาตรฐาน C0C (Code of Conduct หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับพสกระทบทางสิน| กล้อม) และ ระบบประกันคุปกาพ GMP (Gund Manufacturing Practice เรือสักเกม และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร)

หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ซึ่งเป็นเกณฑ์หรือข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิตอาหารได้อย่างปลอดภัย

องค์การอนามัยโลก เป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ

รับรองห้องปฏิบัติการทดสอบด้านสาธารณสุข หรือด้านคุ้มครองผู้บริโภค (ตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์สุขภาพ) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 โดยได้รับใบรับรองและเครื่องหมายรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ห้องปฏิบัติการสามารถใช้สัญลักษณ์ ilac-MRA คู่กับสัญลักษณ์อักษร Q ได้เฉพาะใบรายงานผลการทดสอบเท่านั้น ส่วนเอกสารที่นอกเหนือจากใบรายงานผล ให้ใช้เฉพาะสัญลักษณ์อักษร Q และหมายเลขทะเบียนเท่านั้น โดยต้องได้รับพิจารณาอนุญาตจากสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการก่อนนำไปใช้

หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ซึ่งเป็นเกณฑ์หรือข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่จำเป็นในการผลิตและควบคุม เพื่อให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามและทำให้สามารถผลิต

เป็นวิธีการปฏิบัติงานเชิงโครงสร้างที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ที่ช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มสามารถระบุความเสี่ยงในด้านความปลอดภัยของอาหาร ป้องกันอันตรายที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยของอาหาร และแก้ปัญหาการร้องเรียนทางกฏหมาย HACCP เป็นมาตรฐานที่บังคับใช้ในหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป หลักการของ HACCP และแนวทางในการนำมาตรฐานนี้ไปใช้งานถูกปรับใช้โดยคณะกรรมการ Codex Alimentarius ระบบ HACCP เป็นระบบทางวิทยาศาสตร์ที่ทำหน้าที่ระบุอันตรายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและวิธีการควบคุมอันตรายดังกล่าวเพื่อทำให้แน่ใจว่าอาหารมีความปลอดภัย

มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปภัมภ์ และภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยคณะอนุกรรมการโครงการ "อาหารไทย หัวใจดี" เท่านั้นที่จะเป็นผู้อนุมัติทั้งในการผลิต และการใช้ตราสัญลักษณ์ "อาหารรักษ์หัวใจ" ในทุกๆ วัตถุประสงค์ เช่น การใช้ตราสัญลักษณ์สำหรับแสดงบนบรรจุภัณฑ์สื่อโฆษณากลางแจ้งในรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้รวมถึงตราสัญลักษณ์บนรายการส่วนผสมของอาหารและการปรุงของอาหารที่ได้รับการอนุมัติรับรองแล้ว

อาหารที่ได้ผ่านกรรมวิธีในการทำ ผสม ปรุง ประกอบ หรือแปรสภาพ ตามบัญญัติอิสลามที่กล่าวมาโดยสังเขปข้างต้นทุกประการ และต้องได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ออก เครื่องหมายรับรอง หรือออกหนังสือรับรองตามกฎหมาย เพื่อเป็นการรับประกันว่า ชาวมุสลิมโดยทั่วไปสามารถบริโภคอาหาร หรืออุปโภคสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ได้โดยสนิทใจ ซึ่งใครจะเป็นผู้ผลิตหรือปรุง “อาหารฮาลาล” ก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นมุสลิม

เป็นระบบคุณภาพที่ใช้ในการประกันคุณภาพและการบริหารกระบวนการต่าง ๆ ในองค์กรซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทาง หรือเป็นเงื่อนไขในการทำข้อตกลงต่าง ๆ ทางการค้าระหว่าง ผู้ซื้อ (Purchaser) หรือ ผู้ขาย (costomer) กับผู้ส่งมอบหรือผู้ผลิตได้